รายละเอียดโครงการ

ชื่อโครงการ :
โครงการบริการวิชาการศูนย์ศึกษาชายแดนภาคตะวันออก
หน่วยงาน :
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผู้รับผิดชอบโครงการ :
ศูนย์ศึกษาชายแดนภาคตะวันออก และหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
มิติของโครงการ :
  • ด้านสังคม
  • แหล่งงบประมาณ :
    มหาวิทยาลัยโดยกองนโยบาย(ตามกรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปี)
    รายละเอียดงบประมาณ :
    30,000
    ลักษณะโครงการ :
    โครงการเพื่อพัฒนาและสร้างภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยแบบไม่แสวงหาผลกำไร
    ค่าลงทะเบียน :
    0 บาท
    ผลผลิต :
    โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ :
    1.นางสาวมัลลิกา ตั้งบุรสุวรรณ



    ความสอดคล้องระดับมหาวิทยาลัย :
    ยุทธศาสตร์ที่1 การพัฒนาท้องถิ่น สนองตอบกลับ ตัวบ่งชี้ / ตัวชี้วัด (การประกันคุณภาพ) สกอ.ตัวบ่งชี้ที่1.1 บริหารจัดการโครงการบริการวิชาการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม เสริมสร้างชุมชน เข้มแข็งโดยบูรณาการกับการเรียนการสอนหรืองานวิจัย

    ความสอดคล้องระดับความสอดคล้องระดับ คณะ/สำนัก/สถาบัน :
    ยุทธศาสต์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2

    สนองตอบกลับ ตัวบ่งชี้/ตัวชี้วัด (การประกันคุณภาพ) :
    สกอ. ตัวบ่งชี้ที่1.1 บริหารจัดการโครงการบริการวิชาการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม เสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยบูรณาหการกับการเรียนการสอนหรืองานวิจัย

    พื้นที่ดำเนินการ :
    หมู่ที่ 3 บ้านคลองหิน ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด
    ลักษณะของโครงการ :
    พัฒนายุทธศาสตร์
    ลักษณะการดำเนินงาน :
    อื่นๆ
    รายละเอียด :
    บริการวิชาการและบูรณาการเรียนการสอนกับภารกิจอื่น

    งบประมาณ :
    30,000 บาท
    อ้างอิงถึงกรอบงบประมาณ :
    กรอบการจัดสรรประมาณรายจ่ายงบประมาณแผ่นดิน 2562 งบรายจ่ายอื่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาท้องถิ่น 1) โครงการส่งเสริม ความรักความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น จำนวน 100,000 บาท 4) โครงการพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น คณะมนุษย์ฯ จำนวน 20,000 บาท (ยอด 100,000บาท)

    วันที่เริ่ม :
    1 ม.ค. 2562
    วันที่สิ้นสุด :
    31 มี.ค. 2562

    หลักการและเหตุผล :
    ศูนย์ศึกษาชายแดนภาคตะวันออก มีภารกิจในการสร้างพัฒนาองค์ความรู้ท้องถิ่นชายแดนภาคตะวันออกโดยอาศัยวิธีวิทยาแนวทางสหวิทยาการเนื่องจากวิธีวิทยาการในการแสวงหาความรู้ที่เน้นการแบ่งงานกันทำแบบเฉพาะสาขาวิชา กลายเป็นวิธีวิทยาที่ไม่เพียงพอในการศึกษาวิจัยในกระแสโลกาภิวัฒน์ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องใช้วิธีวิทยาแนวสหวิทยาการเข้ามาประยุกต์ใช้ในปัจจุบันภายใต้กิจกรรมการศึกษาวิจัยการบริการวิชาการแก่สังมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในมิติใหม่ศูนย์ศึกษาชายแดนภาคตะวันออกจะเป็นองค์กรภายใต้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และจะเป็นกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจของมหาวิทยาลัยให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป ดังนั้นเพื่อให้การขับเคลื่อนภารกิจของศูนย์ฯโดยเฉพาะภารกิจด้านการบริหารวิชาการ ศูนย์ฯ จึงได้มีแนวคิดการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งอาจเป็นพื้นที่ที่อ่อนไหวต่อปัญหาโดยเฉพาะปัญหาสาธารณะ เช่น สิ่งแวดล้อม แรงงานต่างด้าว ตลอดการจัดการกับปัญหาสาธารณะในรูปแบบอื่น ๆ เป็นต้น เพื่อสร้างองค์ความรู้ การแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืนให้แก่ชุมชนต่อไป จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้นศูนย์ศึกษาชายแดนภาคตะวันออกจึงได้มีการจัดโครงการบริการวิชาการขึ้นโดยใช้พื้นที่บริเวณตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด เป็นพื้นที่นำร่องการดำเนินโครงการบริการวิชาการสร้างความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม อาหาร และการสร้างความมั่นคงในด้านอื่น ๆ หรือการแก้ไขปัญหาสาธารณะของชุมชนต่อไป

    วัตถุประสงค์ :
    1.เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณะของชุมชนตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด 2.เพื่อสร้างองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างศูนย์ฯและชุมชนในการจัดการกับปัญหาสาธารณะ 3.เพื่อสร้างเครือข่ายการทำงานระหว่างมหาวิทยาลัยฯ และชุมชนในการจัดการกับปัญหาสาธารณะ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
    1. เป็นฐานข้อมูลสำคัญในการบริหารจัดการกิจกรรมสร้างความเป็นพลเมืองให้แก่หน่วยงานภาครัฐเอกชนประชาชน หรือประชาสังคม 2.เป็นต้นแบบในการจัดกิจกรรมหรือโครงการให้กับกลุ่มต่าง ๆ ที่สนใจต่อการสร้างวิถีของความเป็นพลเมืองภายใต้ระบบประชาธิปไตย 3.เป็นจุดเริ่มต้น และความต่อเนื่องในการสร้างความเป็นเจ้าของ และการมีส่วนร่วมการสร้างความเป็นของพลเมือง ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของหน้าที่ความเป็นพลเมือง 4.เป็นข้อมูลในการช่วยกำหนดนโยบายสาธารณะ หรือมาตรการต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาหรือความต้องการของชุมชนและสังคมต่อไป

    เป้าหมายเชิงคุณภาพ :
    เครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนในการแก้ไขปัญหา และสนองความต้องการของชุมชน จำนวน 1 เครือข่ายมีกิจกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการของชุมชนได้ จำนวน 1 โครงการ

    เป้าหมายเชิงปริมาณ :
    จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

    เป้าหมายเชิงเวลา :
    ตั้งแต่เดือนมกราคม - มีนาคม 2562

    เป้าหมายเชิงต้นทุน (ให้ระบุรายละเอียดการใช้งบประมาณด้วย) :
    ต้นทุนในการดำเนินโครงการ 30000 บาท

    จุดเด่นของโครงการ :
    1.ได้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนโดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมการแปรรูปหอยแมลงภู่ 2.ได้เกิดงานวิจัย 1 เรื่อง ซึ่งอยู่ระหว่างการรอการน าเสนอประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติ ระยะเวลาในการด าเนินงาน

    ประโยชน์ที่ชาวบ้าน/ชุมชน จะได้รับ :
    องค์ความรู้/แนวทางการแปรรูปหอยแมลงภู่เพื่อการเพิ่มมูลค่า

    ผลสำเร็จโครงการ :
    จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และเกิดเครือข่ายความร่วมมือใน การขับเคลื่อนการแก้ปัญหาและสนองความต้องการของชุมชนจ านวน 1 เครือข่าย/มีกิจกรรมการแก้ปัญหา ร่วมกับชุมนจ านวน 1 โครงการ

    กลุ่มเป้าหมาย :
    เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนการ แก้ปัญหาและสนองความต้องการของชุมชนจ านวน 1 เครือข่าย/มีกิจกรรมการแก้ปัญหาร่วมกับชุมน จ านวน 1 โครงการ



    การรายงานผลความคืบหน้าโครงการ

    ลำดับ ไตรมาสที่ จำนวนพื้นที่ดำเนินการ ผู้ประสานงานโครงการ สถานะโครงการ ตัวเลือก
    1 ไตรมาสที่ 1
    อัปเดทล่าสุด : 2020-01-13 11:31:28
    0 0 กำลังดำเนินการ 95 %

    เอกสาร
    เอกสารของโครงการ
    - ไม่พบเอกสาร -


    ภาพกิจกรรม
    ภาพกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ
    - ไม่พบภาพกิจกรรม -