รายละเอียดโครงการ

ชื่อโครงการ :
กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาเครื่องคัดแยกผลไม้ต้นแบบสำหรับชุมชนเกษตรในจังหวัดจันทบุรี
หน่วยงาน :
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ผู้รับผิดชอบโครงการ :
ผศ.คมสัน มุ่ยสี
มิติของโครงการ :
  • ด้านสังคม
  • แหล่งงบประมาณ :
    มหาวิทยาลัยโดยกองนโยบาย(ตามกรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปี)
    รายละเอียดงบประมาณ :
    ค่าตอบแทนวิทยากร คิดเป็นเงิน 3,600 ค่าใช้สอย 4,800 บาท ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 11,600 บาท
    ลักษณะโครงการ :
    โครงการเพื่อพัฒนาและสร้างภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยแบบไม่แสวงหาผลกำไร
    ค่าลงทะเบียน :
    0 บาท
    ผลผลิต :
    โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ :
    1.นายอเนกชัย ราศรีกุล


    ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) :
    ยุทธศาสต์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนท้องถิ่นได้รับการพัฒนา สู่ความเข็มแข็ง ยั่งยืน จากการวิจัย การสร้างสรรค์ นวัตกรรม การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวชี้วัดที่ 1 งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนชุมชน/หมู่บ้าน/หน่วยงาน ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏดำเนินโครงการอันเป็นผลจากการวางแผนพื้นที่ที่สอดคล้องกับพื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัย /จังหวัด กลยุทธ์ที่ 1 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของท้องถิ่น

    ความสอดคล้องระดับมหาวิทยาลัย :
    ยุทธศาสต์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนท้องถิ่นได้รับการพัฒนา สู่ความเข็มแข็ง ยั่งยืน จากการวิจัย การสร้างสรรค์ นวัตกรรม การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวชี้วัดที่ 1 งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนชุมชน/หมู่บ้าน/หน่วยงาน ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏดำเนินโครงการอันเป็นผลจากการวางแผนพื้นที่ที่สอดคล้องกับพื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัย /จังหวัด กลยุทธ์ที่ 1 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของท้องถิ่น

    ความสอดคล้องระดับความสอดคล้องระดับ คณะ/สำนัก/สถาบัน :
    ยุทธศาสต์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น (ด้านงานวิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม) เป้าประสงค์ที่ 4 มีโครงการบริการวิชาการ (ให้เปล่า) ที่มีการบูรณาการงานวิจัย การเรียนการสอน โครงการพระราชดำริ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สู่สาธารณชนและชุมชนเครือข่าย ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนกิจกรรม/โครงการ ที่แก้ไขปัญหาท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนเครือข่ายชุมชนที่ทำกิจกรรมกับคณะอย่าต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการจัดโครงการบริการวิชาการที่ร่วมแก้ไขปัญหาท้องถิ่น บูรณาการวิจัยหรือการเรียนการสอนตอบสนองความต้องการของชุมชนสังคมและท้องถิ่น

    สนองตอบกลับ ตัวบ่งชี้/ตัวชี้วัด (การประกันคุณภาพ) :
    สกอ. ตัวบ่งชี้ที่3.1 ระบบและกลไกการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม 3.2 จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพ้นธ์ชุมชน

    พื้นที่ดำเนินการ :
    กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าศาลา ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
    ลักษณะของโครงการ :
    ใหม่
    ลักษณะการดำเนินงาน :
    อบรม

    งบประมาณ :
    20,000 บาท
    อ้างอิงถึงกรอบงบประมาณ :
    ตัวอย่าง กรอบการจัดสรรประมาณรายจ่ายงบประมาณแผ่นดิน 2562 กิจกรรม : 2.1 โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น : ยุทธศาสต์ที่ 1 พัฒนาท้องถิ่น : 4)โครงการพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น

    วันที่เริ่ม :
    1 ม.ค. 2563
    วันที่สิ้นสุด :
    30 มิ.ย. 2563

    หลักการและเหตุผล :
    ด้วยคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิตการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและการบริหารจัดการ ซึ่งการบริการวิชาการนั้น เป็นภารกิจหนึ่ง่ที่ส่งเสริมและสนับสนุนเกี่ยวกับการนำหลักวิชาการ นำไปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีความอยู่ดีกินดี ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ซึ่งเป็นไปตามแนวพระราชดำริ ในเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงอีกทั้งได้มีการบูรณาการ การเรียนการสอนของหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับด้านวิชาการให้นักศึกษาได้หลักวิชาการไปพัฒนา เพื่อจะได้ทราบและเห็นประโยชน์ของหลักการทางวิชาการให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย คือ เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และบริการวิชาการชั้นนำในภาคตะวันออกพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะดำเนินงานด้านบริการวิชาการให้สอดคล้องและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมต่อไป

    วัตถุประสงค์ :
    1. เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่สังคมและชุมชน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาระบบและกลไกในการบริการวิชาการในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด 3. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอน และการวิจัยในรายวิชาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกับโครงการบริการวิชาการ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
    1. กิจกรรม "อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานโรงงานควบคุมสภาพอากาศอัตโนมัติเพื่อการเพาะเห็ด" สามารถพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้อยู่ดี กินดี สร้างประโยชน์ต่อชุมชนเกษตรกรยิ่งขึ้น 2. กิจกรรม "อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานโรงเรือนควบคุมสภาพอากาศอัตโนมัติ เพื่อการเพาะเห็ด" มีระบบและพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ 3. กิจกรรม "อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานโรงงานควบคุมสภาพอากาศอัตโนมัติเพื่อการเพาะเห็ด"นำรายวิชาไปบูรณาการร่วมกับชุมชนท้องถิ่น นักศึกษามีความรู้ในการพัฒนาท้องถิ่น

    เป้าหมายเชิงคุณภาพ :
    ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 25 คน

    เป้าหมายเชิงปริมาณ :
    กลุ่ม 2 (ชาวบ้าน/ชุมชน/สังคม) ความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

    เป้าหมายเชิงเวลา :
    1 มกราคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563

    เป้าหมายเชิงต้นทุน (ให้ระบุรายละเอียดการใช้งบประมาณด้วย) :
    งบรายจ่ายอื่น ต้นทุนในการดำเนินโครงการ 20,000 บาท

    จุดเด่นของโครงการ :
    โครงการที่พัฒนาร่วมกันระหว่างคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าศาลา ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี



    การรายงานผลความคืบหน้าโครงการ

    ลำดับ ไตรมาสที่ จำนวนพื้นที่ดำเนินการ ผู้ประสานงานโครงการ สถานะโครงการ ตัวเลือก
    -ไม่พบข้อมูล-

    เอกสาร
    เอกสารของโครงการ


    ภาพกิจกรรม
    ภาพกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ
    - ไม่พบภาพกิจกรรม -