รายละเอียดโครงการ

ชื่อโครงการ :
โครงการบริการวิชาการยุทธศาสตร์เพื่อการพัมนาท้องถิ่น (บัญชีพอเพียง)
หน่วยงาน :
คณะวิทยาการจัดการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวี สิงหาด
มิติของโครงการ :
  • ด้านสังคม
  • แหล่งงบประมาณ :
    กรรมการพัฒนายุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น/สำนักบริการวิชาการ
    รายละเอียดงบประมาณ :
    งบโดยดครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
    ลักษณะโครงการ :
    โครงการเพื่อพัฒนาและสร้างภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยแบบไม่แสวงหาผลกำไร
    ค่าลงทะเบียน :
    0 บาท
    ผลผลิต :
    โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ :
    1.ผศ.ฉวี สิงหาด
    2.ว่าที่เรือตรีกัมพล มีมาก



    ความสอดคล้องระดับมหาวิทยาลัย :
    ยุทธศาสต์ที่ 4 : ส่งเสริมการสืบสานโครงการพระราชดำริ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เป้าประสงค์ที่ - ตัวชี้วัดที่ - กลยุทธ์ที่ 2 : บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

    ความสอดคล้องระดับความสอดคล้องระดับ คณะ/สำนัก/สถาบัน :
    ยุทธศาสต์ที่ 4 : ให้บริการวิชาการแก่สังคมและสืบสานแนวพระราชดำริเพื่อนำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ - ตัวชี้วัดที่- กลยุทธ์ที่ 2 : ให้บริการวิชาการหลากหลายรูปแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่นเพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

    สนองตอบกลับ ตัวบ่งชี้/ตัวชี้วัด (การประกันคุณภาพ) :
    สกอ. ตัวบ่งชี้ที่5.1 ,5.2

    พื้นที่ดำเนินการ :
    เขตเทศบาลตำบลเขาบายสี อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    ลักษณะของโครงการ :
    ใหม่
    ลักษณะการดำเนินงาน :
    ประชุมปฎิบัติการ

    งบประมาณ :
    50,000 บาท
    อ้างอิงถึงกรอบงบประมาณ :
    กรอบการจัดสรรประมาณรายจ่ายงบประมาณแผ่นดิน 2562 กิจกรรม : 2.1 โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น : ยุทธศาสต์ที่ 4 ส่งเสริมและสืบสานโครงการพระราชดำริเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น : กลยุทธ์ที่ 2 บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

    วันที่เริ่ม :
    5 เม.ย. 2562
    วันที่สิ้นสุด :
    5 เม.ย. 2562

    หลักการและเหตุผล :
    ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นนี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกครัวเรือนจะต้องวางแผนทางการเงินและมีการจัดทำบัญชีเพื่อให้การดำรงชีวิตสอดคล้องกับพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิภลอดุลยเดช รัชการที่ 9 ในเรื่องของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระองค์ทรงมีพระราชดำรัสแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขเศรษฐกิจของประเทศไทยให้ดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลภาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ โดยไม่ไปพึ่งพายึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมาเกินไป หลักสูตรการบัญชีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี ได้ตระหนักถึงหลักการดังกล่าวข้างต้น จึงมีโครงการที่จะเผยแพร่ความรู้ทางด้านการวางแผนทางการเงินและการจัดทำบัญชีให้แก่ประชาชนผู้สนใจ ในท้องถิ่นต่างๆ ให้ได้ทราบถึงหลักการตามแนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสามารถวางแผนทางการเงินและจัดทำบัญชีได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างพอมีพอกิน พออยู่พอใช้ และพออกพอใจ และจากผลการประเมินของการจัดโครงการบัญชีเพื่อวิถีชีวิตที่พอเพียงครั้งที่ 1-4 ที่ผ่านมา ได้รับการตอบรับจากประชาชนและท้องถิ่นเป้นอย่างดีมาก โดยโครงการนี้ให้ประโยชน์แก่ประชาชนและท้องถิ่นเป็นอย่างมาก เนื่องจากทำให้กาำดำรงชีวิตชความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้น ประชาชนสามารถดำรงตนอยู่ได้โดยใ้หลักการตามแนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่สร้างปัญหาสังคม การดำเนินชีวิตของประชาชน อยู่ดีมีสุขซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาสังคมและประเทศขาติต่อไป นอกจากนี้ ยังสามรารถนำความรู้ ประสบการณ์ตรงจากวิทยากรไปถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับนักศึกษาของหลักสูตรการบลัญชี ในรายวิชาหลักการบัญชี รายวิชาสัมมนาทางการบัญชี และรายวิชาการบัญชีภาษีอากร เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ตรง อันเป็นคุณลักษณะบัณฑิตที่ถึงประสงค์ต่อไป

    วัตถุประสงค์ :
    1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางด้านการวางแผนทางการเงินและการจัดทำบัญชีให้แก่ประชาชนผู้สนใจในท้องถิื่นในเขตภาคตะวันออก 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ทางด้านการวางแผนทางการเงินและการจัดทำบัญชี 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าใจถึงหลักการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะส่งผลให้ดำรงขีวิตอยู่อย่างพออยู่พอกิน พอมีพอใช้ และพออกพอใจ 4. เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพอาจารย์ผู้สอนวิชาการบัญชี ให้มีความรู้และความสามารถมากขึ้นโดยสามารถให้คำปรึกษาแก่ประชาชนในท้องถิ่นได้ 5. เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรการบัญชีได้รับความรู้ทางด้านการวาสงแผนทางการเงินและการจัดบัญชีรวมทั้งมีส่วนร่วมในการจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ :
    1. ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง ตราด และศิษย์เก่ารวมถึงบะคคลทั่วไปที่สนใจได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ คึวามคิดทางการวางแผนทางการเงินและากรจัดทำบัญชี 2. ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาลในจังหวัดจันทบุร ระยอง ตราด และศิษย์เก่า รวมถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความึคิดตามแนวพระราชดำริปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดำรงชีวิตอยู่ดีมีสุข 3. อาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาการบัญชี มีทักษะความรู้ และความสามารถมากขึ้นจากการให้คำปรึกษาแก่ประชาชนในท้องถิ่น 4. นักศึกษาหลักสุตรการบัญชีมีความรู้ ความสามารถ และทักษะทางด้านการวางแผนทางการเงินและการจัดบัญชี รวมทั้งมีส่วนร่วมในกาจัดโครงการบริการวิชาแารแก่ชุมชน

    เป้าหมายเชิงคุณภาพ :
    1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจของผู้เข้าอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65

    เป้าหมายเชิงปริมาณ :
    จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการได้แก่ ประชาชน นักเรียน และสิษย์เก่า จตำนวนไม่น้อยกว่า 150 คน

    เป้าหมายเชิงเวลา :
    เดือนกุมภาพันธ์ ถึง มิถุนายน 2562

    เป้าหมายเชิงต้นทุน (ให้ระบุรายละเอียดการใช้งบประมาณด้วย) :
    -

    จุดเด่นของโครงการ :
    -

    ประโยชน์ที่ชาวบ้าน/ชุมชน จะได้รับ :
    -

    ผลสำเร็จโครงการ :
    -

    กลุ่มเป้าหมาย :
    -



    การรายงานผลความคืบหน้าโครงการ

    ลำดับ ไตรมาสที่ จำนวนพื้นที่ดำเนินการ ผู้ประสานงานโครงการ สถานะโครงการ ตัวเลือก
    1 ไตรมาสที่ 3
    อัปเดทล่าสุด : 2020-09-20 10:19:23
    1 1 กำลังดำเนินการ 99 %

    เอกสาร
    เอกสารของโครงการ
    - ไม่พบเอกสาร -


    ภาพกิจกรรม
    ภาพกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ